วันอังคารที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2561

การบันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 3

วันอังคาร ที่ 23 มกราคม พ.ศ.2561

เวลา ( 08:30 – 11:30 น. )


ความรู้ที่ได้รับ
            วันนี้อาจารย์ได้สอนเกี่ยวกับ ทฤษฏีที่เกี่ยวกับพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ได้อธิบายทฤษฏีกรพัฒนาต่างๆของแต่ละคน ได้แก่ ซิกมันด์ ฟรอยด์ อีริคสัน กีเซล  เพียเจท์ โคลเบอร์ก และบรุนเนอร์

          

                

                         


     ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmond Freud) มีความเชื่อว่าพัฒนาการบุคลิกภาพของคนขึ้นอยู่กับการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน เรียกว่าแรงขับโดยสัญชาติญาณ








อีริค อีริคสัน (Erik H. Erikson) ให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อมมาก วัยเด็กเป็นวัยที่สำคัญและพร้อมเรียนรู้สิ่งแวดล้อมรอบตัว










ฌอง เพียเจท์  (Jean Piaget) ได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับพัฒนาการการเรียนรู้ของเด็กและพัฒนาการทางสติปัญญา

          


    



 ลอเรนซ์ โคลเบิร์ก (Lowrence Kohlberg ได้ศึกษาค้นคว้าทางด้านพัฒนาการทางจริยธรรม ซึ่งได้รับอิทธิพลความคิดและผลงานมาจากเพียเจท์











 เจอโรม บรุนเนอร์ (Jerome.S.Bruner) ได้เสนอทฤษฎีเกี่ยวกับพัฒนาการทางการคิดและใช้เหตุผล (Cognitive) โดยอาศัยแนวคิดของเพียเจท์เป็นหลัก








      อาร์โนลด์ กีเซล (Arnold Gesell) ความเชื่อในเรื่องของความเจริญเติบโตตามวุฒิภาวะโดยกล่าวว่า “วุฒิภาวะเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ โดยที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับสิ่งเร้าภายนอก”





ต่อไปอาจารย์ได้ให้ ดูวีดีโอขอลแต่ละทฤษฏีที่เกี่ยวกับพัฒนาการของเด็กปฐมวัยและชมวีดีโอเกี่ยวกับครู ในเรื่อง ลูกน่ารักที่สุดในโลก อาจารย์ให้วิเคราะห์ตัวละครในแต่ละคนว่าเป็นอย่างไร 







ภาพบรรยากาศการเรียน


ประเมินตัวเอง : วันนี้อยากตั้งใจเรียน แต่ช่วงหลังๆเริ่มง่วงนอนนิดหน่อย แต่ก็ยังฟังที่อาจารย์ตลอด
ประเมินเพื่อน : บางคนตั้งใจเรียน แอบหลับบ้าง หลับกับโต๊ะเลยก็มี ช่วยกันวิเคราะห์ในเรื่องที่สอน แสดงความคืดเห็นต่างๆ
ประเมินอาจารย์ : วันนี้อาจารย์สอนดีค่ะ แต่ด้วยที่เนื้อหาทำให้นักศึกษาง่วงนอน แต่อาจารย์ก้ยังมีอะไรที่ทำให้ไม่ง่วง เช่น การดูวีดีโอ